By Arnon Puitrakul - 21 ธันวาคม 2014
ซีรีส์ Java 101 นี้ผมจะพยายามใช้ภาษาพูดเยอะหน่อยนะครับ เพราะมันเป็นการอธิบายซะส่วนใหญ่ ซึ่งมันจะมีกี่ตอนผมก็ไม่รู้เหมือนกัน
วันนี้ผมอยากเริ่มด้วยโปรแกรมที่คนที่เขียนโปรแกรมทุกคนจะต้องเคยเจอ ซึ่งคือ Hello World
ก่อนอื่นก็พิมพ์ตามนี้ก่อนเลยครับ
public class Helloworld
{
public static void main (String [] args)
{
System.out.println("Hello World");
}
}
Output ที่ควรจะออกมาคือ คำว่า Hello World นะครับ
มาอธิบายโค้ตกัน
บรรทัดแรก เป็นการประกาศคลาสชื่อ Helloworld (เดียวเรื่อง Class คาดว่า EP.2 ผมจะมาอธิบายนะครับ)
บรรทัดที่ 3 เป็นการประกาศ Method ชื่อ main โดยที่ไม่ส่งค่าใดๆกลับ หรือ void นั่นเอง ส่วนคำว่า public กับ static นั้นเป็น Modifier เดียวผมจะอธิบายไว้ข้างล่างแบบคร่าวๆก่อน
บรรทัดถัดลงมา ผมบอกว่า System.out.println("Hello World"); นั่นคือการให้โปรแกรมส่งออกค่าผ่านทางหน้าจอว่า Hello World
เพราะฉะนั้นคำสั่งที่เราได้รู้ในวันนี้คือ
เมื่อหลายวันก่อน เราไปทำงานแล้วใช้ Terminal แบบปีศาจมาก ๆ จนเพื่อนถามว่า เราทำยังไงถึงสามารถสลับ Terminal Session ไปมาได้แบบบ้าคลั่งขนาดนั้น เบื้องหลังของผมน่ะเหรอกัปตัน ผมใช้ tmux ยังไงละ วันนี้เราจะมาแชร์ให้อ่านกันว่า มันเอามาใช้งานจริงได้อย่างไร เป็น Beginner Guide สำหรับคนที่อยากลองละกัน...
Firewall ถือว่าเป็นเครื่องมือในการป้องกันภัยขั้นพื้นฐานที่ปัจจุบันใคร ๆ ก็ติดตั้งใช้งานกันอยู่แล้ว แต่หากเรากำลังใช้ Ubuntu อยู่ จริง ๆ แล้วเขามี Firewall มาให้เราใช้งานได้เลยนะ มันชื่อว่า UFW วันนี้เราจะมาทำความรู้จัก และทดลองตั้ง Rule สำหรับการดักจับการเชื่อมต่อที่ไม่เกี่ยวข้องกันดีกว่า...
Obsidian เป็นโปรแกรมสำหรับการจด Note ที่เรียกว่า สารพัดประโยชน์มาก ๆ เราสามารถเอามาทำอะไรได้เยอะมาก ๆ หนึ่งในสิ่งที่เราเอามาทำคือ นำมาใช้เป็นระบบสำหรับการจัดการ Todo List ในแต่ละวันของเรา ทำอะไรบ้าง วันนี้เราจะมาเล่าให้อ่านกันว่า เราจัดการะบบอย่างไร...
อะ อะจ๊ะเอ๋ตัวเอง เป็นยังไงบ้างละ เมื่อหลายเดือนก่อน เราไปเล่าเรื่องกันขำ ๆ ว่า ๆ จริง ๆ แล้วพวก Loop ที่เราใช้เขียนโปรแกรมกันอยู่ มันไม่มีอยู่จริง สิ่งที่เราใช้งานกันมันพยายาม Abstract บางอย่างออกไป วันนี้เราจะมาถอดการทำงานของ Loop จริง ๆ กันว่า มันทำงานอย่างไรกันแน่ ผ่านภาษา Assembly...