By Arnon Puitrakul - 05 กรกฎาคม 2015
จาก EP. ที่แล้ว เราก็ได้รู้ว่า กว่าจะมาเป็น Database แบบที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ มันเริ่มมาจากอะไร และมีข้อดีข้อเสียอย่างไร
แต่วันนี้ เราจะไม่ย้อนเวลาแล้ว เราจะมองที่ปัจจุบัน มาดูกันว่า เวลาเราจะวาด ER Diagram ที่เขาวาด ๆ กันได้ยังไง แต่ก่อนหน้านั้น มันคืออะไร ?
ER Diagram เป็น แบบจำลองที่ใช้อธิบายโครงสร้างของฐานข้อมูลที่เราเขียนขึ้นมาในลักษณะของรูปภาพ เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูล
การวาด ER Diagram เป็นขั้นตอนที่ค่อนข้างสำคัญมากในการออกแบบฐานข้อมูล นอกจากมันจะช่วย "กันหลง" ได้แล้ว มันยังทำให้ เราออกแบบฐานข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันความผิดพลาดด้วย ถ้าเราทำงานกับฐานข้อมูลที่ใหญ่มาก ๆ ก็ควรที่จะเขียน ER Diagram มากเลย เพราะถ้าฐานข้อมูลใหญ่มาก ๆ ก็อาจทำให้เราเกิดความผิดพลาดในการทำงานได้ (ถ้ามันใหญ่จริง ๆ ใครมันจะไปจำโครงสร้างได้หมดล่ะ เนอะ ?)
สำหรับแผนภาพ ER Diagram เราจะนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของแผนภาพได้อย่างชัดเจน โดยจะมี
ถัดมา เราก็ต้องมี Entity อีกตัวเพื่อเก็บข้อมูลของหนังสือพิมพ์ เช่น รหัสหนังสือพิมพ์ ชื่อหนังสือพิมพ์ และ ราคา สามารถเอามาเขียน ER Diagram ได้ตามแบบข้างล่างได้เลย
หลังจากที่เราได้ ทั้ง 2 Entities ไปแล้ว เราก็จะมาดูที่อีก Entity นึง แต่ Entity นี้ออกจะพิเศษไปสักหน่อย เพราะว่า ข้อมูลของมันเกิดจาก ความสัมพันธ์ของ 2 Entities นั่นคือ News Member ซึ่ง Entity นี้จะเก็บข้อมูลว่าสมาชิกของเรานั่น สมัครสมาชิก หนังสือพิมพ์อะไรไปบ้าง ดังนั้น Attribute เราก็ควรจะมี รหัสสมาชิก ที่มาจาก Entity Member และ รหัสของหนังสือพิมพ์ที่สมาชิก ได้สมัครไว้
และเราก็จับทั้งหมดมารวมกัน เราก็จะได้แบบด้านล่างเลย
แต่เราสังเกตจากตัวอย่างเมื่อกี้ ว่าสมาชิก 1 คนสามารถสมัครได้มากกว่า 1 หนังสือพิมพ์ ดังนั้นเรื่องของ ระดับของความสัมพันธ์ หรือ Relationship cardinality จึงถูกพูดขึ้นมา มันเป็นการอธิบายว่า ความสัมพันธ์อันนั้น ๆ มันมีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดยเราจะมีอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน นั่นคือ
เมื่อหลายวันก่อน เราไปทำงานแล้วใช้ Terminal แบบปีศาจมาก ๆ จนเพื่อนถามว่า เราทำยังไงถึงสามารถสลับ Terminal Session ไปมาได้แบบบ้าคลั่งขนาดนั้น เบื้องหลังของผมน่ะเหรอกัปตัน ผมใช้ tmux ยังไงละ วันนี้เราจะมาแชร์ให้อ่านกันว่า มันเอามาใช้งานจริงได้อย่างไร เป็น Beginner Guide สำหรับคนที่อยากลองละกัน...
Firewall ถือว่าเป็นเครื่องมือในการป้องกันภัยขั้นพื้นฐานที่ปัจจุบันใคร ๆ ก็ติดตั้งใช้งานกันอยู่แล้ว แต่หากเรากำลังใช้ Ubuntu อยู่ จริง ๆ แล้วเขามี Firewall มาให้เราใช้งานได้เลยนะ มันชื่อว่า UFW วันนี้เราจะมาทำความรู้จัก และทดลองตั้ง Rule สำหรับการดักจับการเชื่อมต่อที่ไม่เกี่ยวข้องกันดีกว่า...
Obsidian เป็นโปรแกรมสำหรับการจด Note ที่เรียกว่า สารพัดประโยชน์มาก ๆ เราสามารถเอามาทำอะไรได้เยอะมาก ๆ หนึ่งในสิ่งที่เราเอามาทำคือ นำมาใช้เป็นระบบสำหรับการจัดการ Todo List ในแต่ละวันของเรา ทำอะไรบ้าง วันนี้เราจะมาเล่าให้อ่านกันว่า เราจัดการะบบอย่างไร...
อะ อะจ๊ะเอ๋ตัวเอง เป็นยังไงบ้างละ เมื่อหลายเดือนก่อน เราไปเล่าเรื่องกันขำ ๆ ว่า ๆ จริง ๆ แล้วพวก Loop ที่เราใช้เขียนโปรแกรมกันอยู่ มันไม่มีอยู่จริง สิ่งที่เราใช้งานกันมันพยายาม Abstract บางอย่างออกไป วันนี้เราจะมาถอดการทำงานของ Loop จริง ๆ กันว่า มันทำงานอย่างไรกันแน่ ผ่านภาษา Assembly...